Apache คืออะไร?

หลังจากบทความที่แล้วที่เราทำความเข้าใจกับ LAMP กันไปแล้ว รวมถึง Linux  ssdhosting ด้วยที่นี้ตัวต่อไปที่เราจะอธิบายคือ Apache ที่ทำหน้าที่เป็น Web Server กันครับ

Apache (อะแพช’ชี)  หรือ Apache Webserver เป็นซอฟต์แวร์เซิร์ฟเวอร์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย Apache  พัฒนาและดูแลโดย  Apache Software Foundation ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่สามารถใช้งานได้ฟรี โดยมีการใช้โดยรวมประมาณ 67% ของเว็บเซิร์ฟเวอร์ทั้งหมดในโลก ซึ่งรวดเร็วเชื่อถือได้และปลอดภัย สามารถปรับแต่งได้เพื่อตอบสนองความต้องการของสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย โดย สามารถเพิ่ม function พิเศษที่เป็น module pluginได้โดยง่าย

 

Web server คืออะไร?

 

web server

 

Webserver (เว็บเซิร์ฟ)  เป็นเหมือน host ssdhosting ร้านอาหาร เมื่อคุณมาถึงร้านอาหาร host จะทักทายคุณตรวจสอบข้อมูลการจองของคุณและพาคุณไปที่โต๊ะ โดยเว็บเซิร์ฟเวอร์จะทำหน้าที่ตรวจสอบหน้าเว็บที่คุณขอและทำการดึงข้อมูลออกมาให้ อย่างไรก็ตามเซิร์ฟเวอร์เว็บไม่ใช่ host อย่างเดียว แต่รวมถึงเซิร์ฟเวอร์ของคุณ เมื่อพบหน้าเว็บที่คุณขอแล้ว ระบบจะแสดงหน้าเว็บดังกล่าวด้วย เว็บเซิร์ฟเวอร์จะทำการสื่อสารกับเว็บไซต์ จัดการกับคำขอของคุณทำให้แน่ใจได้ว่า ระบบพร้อมให้บริการคุณ นอกจากนี้ยังคอยเป็น hosekeeping ทำความสะอาดหน่วยความจำแคชโมดูล และล้างข้อมูลเหล่านี้สำหรับคำขอใหม่ๆ

 

ดังนั้นโดยทั่วไปเว็บเซิร์ฟเวอร์ ssdhosting คือซอฟต์แวร์ที่ได้รับคำขอให้เข้าใช้เว็บเพจ รวมถึงตรวจสอบความปลอดภัยบางอย่างในคำขอ HTTP ของคุณและนำคุณไปที่หน้าเว็บ หน้านี้อาจขอให้เซิร์ฟเวอร์เรียกใช้โมดูลพิเศษบางโมดูลในขณะที่สร้างเอกสารเพื่อให้บริการคุณ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับหน้าเว็บที่คุณ request ขึ้นมา จากนั้นจะแสดงข้อมูลนั้นให้กับคุณ

 

Install Apache

การติดตั้งก็ง่ายมากสำหรับ Linux Ubumtu

 

# Ubuntu

sudo apt install apache2

 

Configure Apache

path configure file อยู่ที่  “/etc/apache2/”

 

  • apache2.conf:  Configure file หลักของ Apache2  ประกอบไปด้วย Global configure ทั้งหมด
  • httpd.conf: อดีตเคยเป็น file main หลัก ซึ่งปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย apache2.conf
  • conf-available: directory ของ available configuration files  ก่อนหน้านี้อยู่ที่ file  “/etc/apache2/conf.d”  ภายหลัง apache แยก split ออกมาเป็น file ของแต่ละ virtual server ภายใต้ “/etc/apache2/conf-available”
  • conf-enabled: จะทำ symlinks ไปที่ directory “/etc/apache2/conf-available” ซึ่งจะ active หลังจากมีการ run command ของ apache เพื่อน enable virtual host นั้น และจะ active หลังจาก restart apache
  • envvars: file ตัวแปร Apache2 environment
  • mods-available: หลักการเดียวกับ conf แต่ใช้สำหรับเก็บ module apache
  • mods-enabled: เช่นเดียวกันกับ  conf  ถ้ามีการ enable จะสร้าง symlink ขึ้นมา แสดงว่า apache มีการใช้งาน module นั้นๆ
  • ports.conf: Configure listen port ของ apache ซึ่งโดยปกติจะเป็น default port 80 แต่ถ้ามีการ enable https (ssl) ก็จะมี port 443 ด้วย
  • sites-available: ทำหน้าที่เก็บ configure Virtual host มั้งหมดของ apache ซึ่งหลักการทำงานเหมือนกับ conf และ mods directory
  • sites-enabled: หลักการทำงานเหมือนกับ conf และ mods directory  โดยสร้าง symlink ขึ้นมา แสดงว่า apache มีการใช้งาน Virtual host นั้นๆ
  • magic: instructions for determining MIME type based on the first few bytes of a file.

 

Top 4 Web Server ยอดนิยม

1. Apache HTTP Server –  Apache Software Foundation

2.Internet Information Server (IIS) – Microsoft

3.Sun Java System Web Server – Sun Microsystem

4.Zeus Web Server –  Zeus Technology

 

Apachemicrosoft

 

สรุปแล้ว Web server คือ เครื่องผู้ให้เก็บข้อมุลเว็บโดยใช้ HTTP (HyperText Transfer Protocol) ส่งสงผลเป็น html ให้ web Browser เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้ามาดูข้อมูล ภาพ เสียง ผ่าน web browser

 

File Server คืออะไร

คอมพิวเตอร์แม่ข่าย(File Server) หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้ทรัพยากร (Resources) ต่างๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ น่วยความจำสำรอง ฐานข้อมูล และโปรแกรมต่างๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกคอมพิวเตอร์แม่ข่ายในระบบเครือข่ายระยะไกลที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์ เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่า ลูกข่ายหรือสถานีงาน

 

file server

หน้าที่ของFile Server ทำหน้าที่จัดเก็บไฟล์ โดยการจัดเก็บไฟล์จะทำเสมือนเป็นฮาร์ดดิสก์ศูนย์รวม เสมือนว่าผู้ใช้งานทุกคนมีที่เก็บข้อมูลอยู่ที่เดียว เพราะควบคุม-บริหารง่าย การสำรองข้อมูล การ Restore ง่าย ข้อมูลดังกล่าวสามารถ Shared ให้กับ Client ได้ โดยส่วนมากข้อมูลที่อยู่ใน File Server คือ โปรแกรมและข้อมูล (Personal Data File) โดยปกติแล้วเซิร์ฟเวอร์

ไม่มีหน้าที่ต้องประมวลข้อมูลเหล่านี้ เป็นเพียงแหล่งเก็บข้อมูล ปัจจุบัน File Server ไม่ได้ทำหน้าที่เพียงจัดเก็บไฟล์แบบ Local แล้ว แต่มีผู้ให้บริการพื้นที่ฟรีในฮาร์ดดิสก์หลายๆแห่งให้บริการพื้นที่ฟรีผ่านอินเตอร์เน็ตด้วย เช่น 100 MB 200 MB ซึ่งเหมาะสำหรับการเก็บไฟล์ที่ต้องการสำรองไว้ ในทางเทคนิคแล้วยังไม่เรียกว่าเป็น “Client/Server” เพราะไม่มีการแบ่ง

 

ssd hosting

 

โหลดการทำงานระหว่างไคลเอ็นต์กับเซิร์ฟเวอร์ ssdhosting แต่หน้าที่ที่ File Server จะต้องจัดการคือ มี NOS (Network Operating System) ที่ดูแลการ “เข้าถึง” ไฟล์ ต้องมีกระบวน “Lock” ไว้ ไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการแก้ไขไฟล์ เช่น ขณะที่ผู้ใช้งานคนที่ 1 เปิด ไฟล์ A และกำลังแก้ไข (edit) อยู่ ผู้ใช้งานคนที่สองจะเปิดไฟล์ A เพื่อแก้ไขไม่ได้ (แต่เปิดเพื่ออ่าน Read Only ได้) แต่ถ้าหากข้อมูลนั้นเป็น Database แทนที่ไฟล์หรือฐานข้อมูลทั้งฐานข้อมูลจะถูก Lock กระบวนการ Lock ก็อาจจะเกิดเฉพาะ Record (Row) นี้เป็นหน้าที่ของ NOS และ Application ที่ใช้งาน

 

 

 

เรียบเรียงโดย: MCCONTENT

ที่มา: www.ssdhosting.in.th

Categorized in: