ถ้าจะพูดเรื่องกีฬาเบสบอลที่เป็นกีฬาหาดูได้ยากในประเทศไทย กีฬาเบสบอลนั้นจึงยังไม่เป็นที่นิยมของคนไทยมากนัก คนที่ดูเบสบอลก็เป็นแค่เฉพาะกลุ่มเล็กๆ ถ้าไม่นับนักกีฬาเองแล้วก็ถือว่ามีน้อยมากๆ

รู้กฏกติกาและอุปกรณ์กีฬา เพื่อความสนุก

ส่วนหนึ่งเป็นเพราะกีฬาเบสบอลเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์มากพอสมควร ไม่ว่าจะเป็นไม้ตีลูก(bat) ถุงมือรับลูก (ball glove) หมวกกันน็อค(helmet) หน้ากาก(mask) สนามที่ใช้แข่งขันก็หาได้ยากด้วยเช่นกัน

เพราะใช้พื้นที่เยอะ ไม่รวมถึงอุปกรณ์เพิ่มเติมอื่น ๆ อีกมากมายที่ใส่ไว้เพื่อเพิ่มสมรรถนะ หรือเพิ่มความเท่อย่างเช่น ถุงมือตีลูก(batting glove)ใส่เพื่อให้จับไม้กระชับขึ้น รองเท้าปุ่มยาง(spike) รองเท้าปุ่มแผ่นเหล็ก(cleat) รวมไปถึงอุปกรณ์อื่น ๆ ของอื่น ๆ อีกเช่น

กีฬาเบสบอลเป็นกีฬาที่ต้องเล่นเป็นทีม ชมรายการสดผ่าน sbobet888 ลิ้งค์เข้าชมใหม่ ได้ทุกวัน

  • สนับกันลูกโดนข้อศอก
  • ข้อเท้า
  • ห่วงเหล็กถ่วงไม้ (ring weight)
  • แว่นตากันแดด
  • ที่รัดข้อมือ
  • ที่รัดข้อศอก
  • ที่รัดหัวไหล่
  • สร้อยประจุ
  • เหรียญพลังสเคล่า
  • คัฟเวอร์กันหัว
  • รองเท้าขาดจากท่าขว้าง
  • และอีกมากมาย

เท่าที่จะสรรหามาใส่ได้ภายใต้กฎกติกาที่จะอำนวย ซึ่งสิ่งของเหล่านี้มีราคาสูงเพราะต้องสั่งเข้ามา หากจะหาในประเทศไทยถือว่าหายาก และมาตรฐานต่ำ ใช้ประเดี๋ยวเดียวก็พัง สู้เก็บตังค์ซื้อของดี ราคาถูกจากต่างประเทศดีกว่า

ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เพียงเพื่อจะบอกว่าเบสบอลเป็นกีฬาที่สนุก มีความสวยงาม มีเสน่ห์ แต่ยังไม่เป็นที่นิยม แต่หากมีผู้สนใจที่จะเล่นเกมเบสบอล ก็ถือว่าเป็นก้าวหนึ่งที่ดีของกีฬานี้เลยที่เดียว

เบสบอล กีฬายอดนิยมของชาวอเมริกันและญี่ปุ่น มีรูปแบบการเล่นคล้ายกีฬาซอฟต์บอลที่คนไทยหลายคนรู้จักกันดี แต่แตกต่างกันเล็กน้อยที่สภาพสนาม และอุปกรณ์การเล่น โดยเฉพาะลูกเบสบอลที่มีขนาดเล็กกว่า และแข็งกว่าลูกซอฟต์บอล

การแข่งขันกีฬาเบสบอลไม่มีการจับเวลา

โดยนักกีฬาแต่ละทีมจะส่งผู้เล่นลงสนามได้ทีมละ 9 คน และผลัดกันเล่นเป็นฝ่ายรุก-รับ สลับกันไปมาทั้งหมด 9 ครั้ง หรือ 9 อินนิ่ง โดยฝ่ายที่ทำแต้มได้สูงสุดจะเป็นผู้ชนะ

สำหรับคะแนนแต่ละแต้มจะมาจากการเป็นฝ่ายรุก หรือการส่ง”แบตเตอร์”ทยอยออกมาตีลูก หากแบตเตอร์คนใด สามารถตีลูก และวิ่งผ่านเบสต่างๆ จนครบ 1 รอบสนาม ทีมนั้นก็จะได้แต้มไปตามจำนวนแบตเตอร์ที่สามารถทำได้

ด้านทีมรับ ซึ่งกระจายอยู่ตามจุดต่างๆทั่วสนาม มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้ผู้เล่นทีมรุกวิ่งได้ครบรอบ หรือที่เรียกว่าวิ่งเข้า”โฮมเบส” โดยหากทีมรุก ถูกขับออกจากสนามครบ 3 คน หรือ 3 เอาท์ ฝ่ายที่เล่นเกมรุก ก็จะต้องสลับมาเป็นฝ่ายรับโดยทันที

สำหรับวิธีทำให้ฝ่ายรุกเสีย 3 เอาท์ มีด้วยกันมากมายไม่ว่าจะเป็นการขว้างลูกเข้าสไตรค์โซน แต่ไม่ให้แบตเตอร์ตีได้ครบ 3 ครั้ง ผู้ตีรายนั้นก็จะถูกขาน “สไตรค์เอาท์” และต้องออกจากสนามไป เพื่อเปลี่ยนให้ผู้อื่นเข้ามาทำหน้าที่แทน นอกจากนี้ หากฝ่ายรับสามารถรับลูกที่แบตเตอร์ตีลอยมาได้ก่อนที่ลูกตกพื้น หรือที่เรียกว่า “ฟลายบอล” แบตเตอร์ผู้นั้นก็จะต้องออกจากสนาม และเปลี่ยนให้ผู้อื่นเข้ามาทำหน้าที่แทนด้วยเช่นกัน

ข้อห้าม สำหรับกีฬาทุกประเภท

ข้อห้ามนั้นในกีฬาแต่ละประเภทนั้นมีความ ไม่แตกต่างกันมาก เพราะเป็นกีฬาที่ ต้อง มีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัยซึ่งกันและกัน นั่นก็คือ โทสะ หรือความโกรธ ในการแล่นกีฬาแต่บะประเภทนั้น มีโอกาสที่เกิดอุบัติเหตุโดยไม่ได้ตั้งใจกันทั้งนั้น เราอย่าเอาความเจ็บปวดที่ได้รับ มาระบายเป็นโทสะ จะทำให้เกิดผลเสียกับตัวเราไม่ ยังทำให้เพื่อนร่วมทีม เริ่มรู้สึกไม่พอใจ และที่เสียมากที่สุดก็คือ ทำให้ทีมตัวเองตกต่ำมาก จนไม่อยากจะกับมาเล่นมาซ้อมแบบจริงจังเหมือนเคย สำหรับกีฬาควรมองภาพ ให้เหมือนเป็นครอบ ทำกิจกรรมพร้อมกัน ร่วมทุกข์ ร่วมสุข แบ่งปันสิ่งดีๆ ให้กัน อย่าใช้อารมณ์เป็นใหญ่ เลิกหัวร้อน มองโลกในแง่ดีซะบ้าง จะทำให้คุณเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดี ในอนาคตได้

Sports and feeling by sbobet888

ความหมายของคำว่า “กีฬา”

ตามหลักความหมาย กีฬา จริงๆแปลว่า ป็นกิจกรรมหรือการเล่นเพื่อความสนุกเพลิดเพลินหรือเพื่อผ่อนคลายความเคร่งเครียดทางจิต รวมไปถึงกิจกรรมปกติหรือทักษะที่อยู่ภายใต้กติกาซึ่งถูกกำหนดโดยความเห็นที่ตรงกันโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพักผ่อน การแข่งขัน ความเพลิดเพลิน ความสำเร็จ การพัฒนาของทักษะ หรือหลายสิ่งรวมกัน กีฬาเป็นกิจกรรมที่ควบคู่กับการแข่งขัน และระบบคะแนน

แต่เราจะมาพูดถึงคำว่า “กีฬา” ในมุมองของ (ชายคนหนึ่ง-ผู้เขียน) กีฬานั่นก็คือ การออกกำลังกายเพื่อสุขเป็นหมู่คณะ หรือเดี่ยว โดยมีการ ตั้งกฏกติกาที่ยอมรับกันได้สากล แต่กีฬานั้นแบ่งประเภทตามหลักความรู้สึกหรือหลักทั่วๆไปที่เคยเล่นมา นั้นก็จะรู้เดียวกับผม 2 ประเภทด้วยกัน คือ

เล่นกีฬาแบบจริงจัง คือการเล่นกีฬา ที่ตั้งเป้าหมายหรือความต้องการเพื่อที่จะไปสุ่จุดสูงสุด โดยมีหลักการ หรือทำเป็นอาชีพ เช่น มีชายคนหนึ่งชอบเล่นกีฬาฟุตบอลมากตั้งแต่ สมันเด็กๆ อายุ ราวๆ 9 ขวบ ได้มีความไฝ่ฝันแบบเด็กทั่วไปคนหนึ่ง อยากเป็นนักกีฬาระดับโลก อยากเท่ อยากดัง อยากทำคนอื่นสนใจเรา ล้วนแล้วก็เป็นอารมณ์ของเด็ก ที่ต้องการให้คนรอบข้างมาสนใจ แต่ในกลุ่มเด็กพวกนี้

จะมีน้อยคนที่ฝันเหมือนๆกัน อยากเหมือนกัน แต่เขามีความตั้งใจ และหมั่นฝึกซ้อม ไปแข่งตามที่ต่างๆ จนเป็นตัวโรงเรียน มหาลัย ตัวหมู่บ้าน ตัวตำบล ตัวจังหวัด บ้างหละ ทำกิจวัตรประวันเปรียบเสมือนการรับประทานอาหาร หรือข้าว(เปรียบไรว้าๆ…ข้าวก็ต้องกินอยู่แล้วนิ ใครไม่กินข้าวบ้าง!!) นั่นแหละเห็นภาพกันใหมครับ ว่าการกระทำ หรือเรียกว่า “ทำซ้ำ” จนเป็นนิสัย เลยเรียกว่า “การเล่นกีฬาแบบจริงจัง”

เล่นกีฬาแบบไม่จริงจัง ประเภทให้คิดง่ายเลย ตรงกันข้ามจากประเภทที่หนึ่งด้านบน แต่ไม่ทุกอย่างในบางเรื่อง เช่น จิตใจ ความรู้สึก ความต้อง มีเหมือนกัน อยากทำ อยากเป็น อยากได้ แต่สุดท้ายแล้ว อาจจะมีปัญหาหลายๆ อย่างที่ไม่สามารถทำตามความฝันของตัวเองได้ คิดว่าเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ (ฟุตบอล) ไปวันขำๆ ไม่จริงจัง แต่อย่าพึ่งตัดสินคนประเภทนี้ ว่าเป็นคนเหลาะแหละน่ะครับ

เพราะคนประเภทนี้ก็มีคนเก่งหลายๆด้วน อย่ามองเค้าเพียงด้านเดียว อาจจะเล่นกีฬาเก่งมาก กว่าคนประเภทที่1 แต่มีปัจจัย สภาวะแวดล้อม การเป็นอยู่ที่อ่อนด้วย หรือขาดคนชี้นำ หรือไม่มีต้นทุนการ ใช้ชีวิตที่ดีพอ จึงทำให้คนประเภทตัดพ้อ ทิ้งความตั้งใจ ทิ้งโอกาศที่สร้างตั้งแต่เด็กๆ จนกลายมาเป็น พนักงานออฟฟิต บริษัทบ้าง ก่อสร้าง รับเหมา หรืองานอื่นๆ ที่ไม่ได้กล่าวมา

สรุปในวงการกีฬาทั่วโลก จะเล่นขำ หรือมืออาชีพ จะมีคนประเภทแบบนี้อยู่มาก แต่ไม่ใช่ว่าไม่ดี ดีทั้ง 2 ประเภท แค่จะบอกว่า ต้นทุนชีวิตที่แตกต่าง ส่งผลให้เราเลือกเส้นที่เหมาะหรือไม่เหมาะกับตัวเรา (พูดแบบนี้เหมือนผมเป็นปมด้วยเลย แห๊ะๆ ว่าม๊ะๆ) แต่…ความตั้งใจของคนทุกๆคนไม่เท่ากัน บางคนหวัง เป็น ที่ 1 ของโลก บางคนหวังแค่ เป็นแชมป์ระดับ หมู่บ้านก็พอใจ เห็นใหมละครับความเเตกต่างก็ส่งผลให้เรารู้ วิถีของชีวิตอะไรหลายๆอย่างเลย ลองเอาไปนั่งคิดกันเล่นๆ นะครับ หรือ ลอง ตั้งประโยคคำถามในใจแล้วคิดตามก็ได้ ว่าชีวิตที่เป็นอยู่นั้นดีหรือ ต้องการอะไร อยากได้อะไร จะทำยังไง ให้คิดเผื่ออนาคต ล่วงหน้า ซัก 5-10 ปี คิดเล่นๆ ไม่ต้องเครียดนะครับ ยิ่งเครียดมาก ยิ่งทำให้เรารู้จักตัวเองมากขึ้น ทั้งนี้ข้อให้สนุกกับการเล่นกีฬาอย่างสนุกครับ

Categorized in: