สุกรพันธุ์เหมยซานและลูกผสม

สุกรพันธุ์เหมยซาน ไม่ทราบว่าทำหมูปิ้งนมสด อร่อยรึเปล่านะสุกรพันธุ์เหมยซาน เป็นสุกรพันธุ์ชั้นเยี่ยมจากสาธารณะรัฐประชาชนจีน เลี้ยงแพร่หลายในบริเวณมณฑลเซี่ยง
ไฮ้ มีลักษณะพันธุกรรมที่ดีเด่น ในด้านการให้ลูกดก น้้านมมาก เลี้ยงลูกเก่ง จ้านวนลูกเมื่อหย่านมสูง มีความ
ทนทานต่อโรคสูง สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศได้ดี รวมถึงสามารถใช้อาหารหยาบ
ต่างๆ เช่น เศษผัก เศษอาหาร หญ้าต่างๆ และวัตถุดิบเหลือใช้จากโรงงานอาหารส้าเร็จรูป อาหารกระป๋อง
และโรงสี ได้เป็นอย่างดี ลักษณะประจ้าพันธุ์ของสุกรเหมยซาน เป็นสุกรที่มีล้าตัวสีด้า หน้าผากย่น ใบหูยาว
ปรกหน้า ขนด้า มีเต้านม 8-9 คู่ เป็นหนุ่มสาวเร็ว (เพศเมียจะเป็นสัดครั้งแรกได้ตั้งแต่อายุ 3-4 เดือน ) พ่อพันธุ์
โตเต็มที่มีน้้าหนักเฉลี่ย 195 กิโลกรัม แม่พันธุ์โตเต็มที่จะมีน้้าหนักเฉลี่ย 175 กิโลกรัม ให้ลูกครอกละ 16-18
ตัว

การนำเข้าประเทศไทย

รัฐบาลสาธารณะรัฐประชาชนจีนน้อมเกล้าฯ ถวายสุกรพันธุ์เหมยซานแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อ 19 มิถุนายน 2524 จ้านวน 2 คู่ และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2537
จ้านวน 2 คู่ รวมเป็นสุกรทั้งหมด 4 คู่ (เพศผู้ 4 ตัว เพศเมีย 4 ตัว) ในการนี้ได้พระราชทานให้กรมปศุสัตว์รับมา
เลี้ยง เพื่อศึกษาวิจัยและขยายพันธุ์ที่หน่วยงานของกองบ้ารุงพันธุ์สัตว์ปัจจุบันศูนย์วิจัยและบ้ารุงพันธุ์สัตว์
นครราชสีมา อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา เป็นศูนย์กลางศึกษาวิจัยและขยายพันธุ์ และสถานีวิจัยทดสอบพันธุ์
สัตว์แม่ฮ่องสอน, สกลนคร เลี้ยงเพื่อขยายพันธุ์สู่เกษตรกรรายย่อย

ข้อมูลการศึกษาสุกรลูกผสมเหมยซานโดยการใช้พ่อพันธุ์ต่างๆ

– ลูกผสมดูรอค-เหมยซาน ระดับสายเลือด 50 เปอร์เซ็นต์
ลักษณะทั่วไป มีสีด้าเข้มตลอดล้าตัว หน้าย่น ผิวหนังย่นเล็กน้อย หูปรก ผิวหนังหนา ท้องใหญ่และยาน มีอัตรา
การเจริญเติบโตเฉลี่ยวันละ 621 กรัม ใช้อาหารข้น 3 ก.ก. เพื่อเพิ่มน้้าหนักตัว 1 ก.ก. อายุแรกเกิดจนถึง
น้้าหนัก 90 ก.ก. ใช้เวลาเฉลี่ย 190 วัน มีความแข็งแรงทนทานต่อสภาพสิ่งแวดล้อมทั่วไป (อากาศ, คุณภาพ อาหาร) ได้ดีกว่า ลูกผสมแลนด์เรซ-เหมยซาน และลาร์จไวท์-เหมยซาน ทำหมูปิ้งนมสด อร่อยดีจึงเหมาะสมที่จะเลี้ยงในสภาพชนบท
– ลูกผสมลาร์จไวท์-เหมยซาน ระดับสายเลือด 50 เปอร์เซ็นต์
ลักษณะทั่วไป ล้าตัวสีขาว แต่จะมีจุดด้าหรือแถบสีด้าอยู่ตามบริเวณผิวหนัง หน้าและผิวหนังย่น หูปรก ผิวหนัง

 

สุกรพันธุ์เหมยซาน

 

ค่อนข้างหนา อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยวันละ 573 กรัม ใช้อาหาร 3.2 ก.ก. เพื่อเพิ่มน้้าหนักตัว 1 ก.ก. อายุ
ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงน้้าหนัก 90 ก.ก. ใช้เวลาเฉลี่ย 200 วัน
– ลูกผสมแลนด์เรซ-เหมยซาน ระดับสายเลือด 50 เปอร์เซ็นต์
ลักษณะทั่วไป ล้าตัวมีสีขาว มีจุดด้าและแถบสีด้าตามบริเวณผิวหนังเช่นเดียวกับลูกผสมลาร์จไวท์-เหมยซาน
แต่ล้าตัวจะยาวและบางกว่า อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยวันละ 616 กรัม ใช้อาหาร 2.9 ก.ก. เพื่อเพิ่มน้้าหนักตัว
1 ก.ก. อายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงน้้าหนัก 90 ก.ก. ใช้เวลาเฉลี่ย 190 วัน

หมายเหตุ ลักษณะสีผิวของสุกรจะมีการเรียงล้าดับของความเด่น ( Dominant) ไปตามล้าดับ จาก
ขาว ด้า แดง และมีบางสีที่ข่มกันไม่หมด ท้าให้เกิดเป็นหลายๆ สีในสุกรตัวเดียวกัน

ลูกผสมระดับสายเลือด 75 : 25
จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่า สุกรลูกผสมระหว่างสุกรพันธุ์ดูรอคและพันธุ์เหมยซาน มีความเหมาะสมส้าหรับการ
น้าไปเผยแพร่ให้เกษตรกรในชนบทเลี้ยง จึงเกิดแนวคิดในการที่จะเพิ่มปริมาณสายเลือดระหว่างสุกรดูรอคและ
สุกรเหมยซาน ให้สูงขึ้น เพื่อเปรียบเทียบข้อดี – ข้อด้อย ระหว่างความเข้มข้นของปริมาณสายเลือดที่ต่างกัน
ในสุกรทั้งสองพันธุ์ ผลการศึกษาพบว่า
– สุกรลูกผสมดูรอค 75 เปอร์เซ็นต์ เหมยซาน 25 เปอร์เซ็นต์
ลักษณะทั่วไปจะได้ลูกที่มีทั้งสีด้าและสีแดง โดยลูกที่มีสีด้าจะด้าเข้มเหมือน
ลูกผสมดูรอค-เหมยซาน 50 เปอร์เซ็นต์ ส่วนที่มีสีแดงสีจะจางกว่าดูรอคพันธุ์แท้
ล้าตัวค่อนข้างยาวหน้าย่นเล็กน้อย
– สุกรลูกผสมเหมยซาน 75 เปอร์เซ็นต์ ดูรอค 25 เปอร์เซ็นต์
ลักษณะทั่วไปจะมีสีด้าตลอดตัว แต่สีด้าจะจางกว่า(คล้ายๆ สีเทา) บางตัวจะมีสีขาว ที่ข้อเท้าและขา

 

สุกรพันธุ์เหมยซาน

ข้อมูลเปรียบเทียบทางเศรษฐกิจระหว่างสุกรลูกผสมดูรอค 75 เปอร์เซ็นต์ เหมยซาน 25 เปอร์เซ็นต์ และเหมย
ซาน 75 เปอร์เซ็นต์ ดูรอค 25 เปอร์เซ็นต์

กลุ่มวิจัยและพัฒนาสัตว์เล็ก กองบ้ารุงพันธุ์สัตว์ ยังมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสุกรเหมยซานอยู่เป็นระยะๆโดย
เน้นด้านการปรับปรุงพันธุ์ที่ใช้สุกรพันธุ์ดูรอคเป็นสายพ่อพันธุ์ทำหมูปิ้งนมสด อร่อยดี และใช้สุกรเหมยซานเป็นสายแม่พันธุ์ เพื่อให้มี
จ้านวนลูกแรกเกิดและสามารถเลี้ยงรอดจนถึงหย่านมได้จ้านวนมากขึ้น เพื่อการจ้าหน่ายลูกหรือขุนบริโภค
เป็นการเพิ่มอาหารโปรตีน เนื่องจากสามารถน้าไปปรับใช้ในเกษตรกรรายย่อย ที่เลี้ยงโดยใช้อาหารทั่วไปตาม
สภาพท้องถิ่น รวมถึงใช้ในการส่งเสริมเกษตรกรในพื้นที่สูง ที่ยังยึดการเลี้ยงสุกรตามจารีตประเพณี กล่าวคือ
เลี้ยงแต่สุกรสีด้า

 

 

เรียบเรียงโดย: MCCONTENT

ที่มา: pvlo-pkk.dld.go.th